อังกฤษ(เรียงตามอักษร)
เอ.
ปรัชญาอภิธรรมเล่ม 1-ภิกขุ จักดิสห์ กัสหยัป
อภิธัมมโกศของวสุพันธุ: แง่มุมทางจิตวิทยาในพุทธปรัชญายุคแรก-อรุน หาลเดอร์
อาทิพุทธ-กาไน ลาล หาซรา
อชันตะ เอลโลรา และถ้ำออลังกาบาด-อาร์.เอส.คุปเตและ บี.ดี. มหาจัน
อมลา ปรัชญา-ทิศทางการศึกษาพระพุทธศาสนา-การแสดงความยินดีต่อศาสตราจารย์ พี.วี.บะพัต เอ็น.
เอช. สัมตานี บรรณาธิการ
อมรวตี-เอช. สารการ์และบี.บี. มิสระ
ประติมากรรมอมรวตีในพิพิธภัณฑ์รัฐบาลมัทราส-ซี. สิวรมมูรติ
ดร.เอ็มเบ็ดการ์กับพระพุทธศาสนา- ดี.ซี.เอหิระ บรรณาธิการ
อมิตาภะและวงศ์สกุล- สันติปริยะ มูโขปะธยายะ
อมิตาภพุทธะ-เอส.เอ็น.ดีซิต
การศึกษาเชิงวิเคราะห์อภิธัมมโกศ-สุโกมาล เจาธุรี
อารยธรรมของศักยมุนี,โคตมะพุทธะ-อนาคาริก ธรรมปาล
อโศก-ราธะ กุมุท มูเคอร์จี
ประกาศพระเจ้าอโศก-อมุลยา จันทรา เสน
พระเจ้าอโศกและจารึก-บี.เอ็ม.บารัว
จารึกอโศก-อาร์จี. บะสัก
อโศกและความล่มสลายของราชวงค์เมารยะ-โรมิลา ธาปาล
ทิศทางของพระพุทธศาสนาในประวัติศาสตร์อินเดีย-แอล.เอ็ม.โชศรี
ทิศทางของวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา-วี. สุภมาเนียม
ทิศทางของพระพุทธศาสนามหายานและความสัมพันธ์กับหินยาน-นาลินักสะ ทุตต์
อัศวโกศ : บทความ-บี.ซี. ลอว์
อัศวโกศและยุคสมัย-สารลา โกศล
อติษะและทิเบต –อลากะ จัตโตปธยาย
บี
ความคิดพื้นฐานของพระพุทธศาสนา-วิสุทธเสขระ ภัตตจรรยา
ภารหุต, มหาสถูปในพระพุทธศาสนา –บี.เอ็ม. บารัว
จารึกภารหุต- บี.เอ็ม.บารัว
โพธคยาสถานที่ตรัสรู้-ทีปัก กุมาร บารัว
โพธคยา-ศิวะพุทธ- สาจินทรา นารายัน
คำสอนเรื่องพระโพธิสัตว์ในวรรณกรรมพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต –หารทยัล
พุทธเจ้า,พุทธประวัติ,พุทธธรรม,และพุทธสาวก-มันมถะ นาถ ศาสตรี
ภควันพุทธะ-อาร์.เค.ทิวาการ
พระพุทธเจ้า-ปาปุล ชยการ
พระพุทธเจ้า,ประวัติและคำสอน-เทวมิตตะ ธรรมปาละ
พระพุทธเจ้า-เขียนในเชิงอัตชีวประวัติ-เจ. วิชยตุงคะ
พระพุทธเจ้าและพุทธศาสนา-บี.อาร์.บารัว
พระพุทธเจ้าและพุทธธรรม บี.อาร์ เอ็มเบ็ดการ์
พระพุทธเจ้าและข่าวสารของพระองค์- เอ็น.คันกุลี
พระพุทธเจ้าและข่าวสารของพระองค์- พระธัมมรัตนะ
พระพุทธเจ้าและหลังศตวรรษที 5-สุกุมาร ทุตต์
พระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์-เอ.เค. บิสวัส
พระพุทธเจ้า,ตรีมูรติและฮินดูสมัยใหม่-เอ.อาร์.กุลการนิ
พระพุทธเจ้าและระบบวรรณะ-พระ ดร. อู ธัมมรัตนะ
พุทธธรรม (การยืนยันขั้นสูง)-จี.จี. ลาล
ที่ระลึกพุทธชยันตี-งานฉลองพุทธชยันตี-คณะกรรมการ,จักกยเปตา-ศรีนิวสเจรี บรรณาธิการ
พระบรมสารีริกธาตุจากกบิลวัตถุ์-เค.เอ็ม ศรีวัสตาวะ
ระบบการฝึกสมาธิของพระพุทธเจ้า(4 เล่ม) เอ.พี. ประธัน
พุทธคยา-ราเชนทรลาล มิตรา
พุทธโกษา-บี.ซี. ลอร์
พระพุทธศาสนา-บัณฑิต เชโอ นารายณ์
พระพุทธศาสนา: การเต้นรำและการละคร- วี.สุภมเนียม
พระพุทธศาสนา: ตามความคิดเห็นของข้าพเจ้า- ดร. อาร์.แอล โสนิ
พระพุทธศาสนา-ทางแห่งการตรัสรู้- อาจารย์พุทธรักขิต
พระพุทธศาสนาประวัติบุคคลสำคัญ-สัตยประกาศ
พระพุทธศาสนาในเมืองหลวงของอินเดีย-ดี.ซี. เอหิระ
พระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง-บี.เอ็น.ปุรี
พระพุทธศาสนาในยุคคลาสสิค-สุธา เสนคุปตะ
พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออก-ดี.พี. ซิงหัล
พระพุทธศาสนาในอินเดียและต่างประเทศ-เอ.ซี. บันเนอร์จี
พระพุทธศาสนาในอินเดียตามคำบรรยายของนักจาริกชาวจีน –เค.แอล. หาซรา
พระพุทธศาสนาในแคชเมียร์-นาลินักสะ ทุตต์
พระพุทธศาสนาในแคชเมียร์และลาดักห์-เจ.เอ็น คันหาร และ พี.เอ็น.คันหาร
พระพุทธศาสนาในเคราลา-พี.ซี. อเล็กซานเดอร์
พระพุทธศาสนาในลาดักห์-นาวัง เซริง
พระพุทธศาสนามัลวา-เอ็ส.เอ็ม.ปหาเทีย
พระพุทธศาสนาในมหาราษฎร์: ประวัติ- บี.จี.โกขาเล
พระพุทธศาสนาในอินเดียสมัยใหม่-ดี.ซี.เอหิระ
พระพุทธศาสนาในอินเดียเหนือ –ดี.ซี. เอหิระ
พระพุทธศาสนาในปัญจาป,หารยนะและหิมาจัลประเทศ-ดี.ซี.เอหิระ
พระพุทธศาสนาและเอ็มเบ็ดการ์-ดี.ซี.เอหิระ
พระพุทธศาสนาและพระเจ้าอโศก-บี.จี.โกขาเล
พระพุทธศาสนาและอารยธรรมชาวพุทธในอินเดีย-อาร์.ซี. ทุตต์
บทความทางพระพุทธศาสนาต่อวัฒนธรรมและอารยธรรมของโลก –อานันทะ ดับเบิลยู.พี. คูรเก,
ดี.ซี.เอหิระ บรรณาธิการ
พระพุทธศาสนาและพัฒนาการ-ภิกขุ พุทธรักขิต
พระพุทธศาสนาและมุมมองของชาวอินเดีย- อาร์.แอล. โสนิ
พระพุทธศาสนาและศาสนาไชนะ-หาริส จันทรา ทัส บรรณาธิการ
พระพุทธศาสนาและลัทธิมาร์ค-การศึกษาทางมนุษยนิยม-วี.บาเนอร์จี
พระพุทธศาสนาและพิธีกรรมในศาสนาอื่น-เอ็ส.เอ็ส. ไตรปาธี
พระพุทธศาสนาสำหรับทุกคน-ภิกษุ จักดิสห์ กัสหยัป
2,500 ปี พระพุทธศาสนา- พี.วี. บะพัต
ศิลปะพระพุทธศาสนาแห่งมธุรา-อาร์.ซี. ซาร์มา
พุทธอวตาน-เอ็ส. ซาร์มา
แนวคิดของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับจิตวิญญาณ-บี.ซี.ลอว์
แนวคิดของพระพุทธศาสนาว่าด้วยมาร-บี.ซี.ลอว์
บทความทางพระพุทธศาสนาในโคลงสันสกฤต-มูลจันท์ ศาสตรี
วัฒนธรรมพระพุทธศาสนาในแอ่งอารยธรรมทิเบต-เอ.ซี.บันเนอร์จี
ภาพวาดพระพุทธศาสนา, 2 เล่ม โลเคส จันทรา บรรณาธิการ
แคชเมียร์พุทธศาสนา-เอฟ.เอ็ม. หัสเนียน
พุทธตรรกวิทยา: การศึกษาช่วงแรกในปรัชญาของธรรมเกียรติ-แอล. บะพัต
คู่มือพระพุทธศาสนาสำหรับการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน-อาจารย์พุทธรักขิต
วัดพระพุทธศาสนาในหิมาจัลประเทศ- โอ.ซี. ฮันดา
วัดพระพุทธศาสนาหิมาลัยตะวันตก-โรมิ โกศล
พระภิกษุปละวัดในอินเดีย-สุกุมาร ทุตต์
ขบวนการพระพุทธศาสนา -นาง เดเบลา มิตรา
พุทธปรัชญา: ในฐานะที่นำเสนอในมีมามสาโลกะ วารติกะ-วชัย รานี
พุทธปรัชญาว่าด้วยจักรวาล-ราธกมาล มุกเคอร์จี
พุทธปรัชญาว่าด้วยพลังจักรวาล-สัตการี มุกเคอร์จี
พุทธปรัชญาเถรวาท-เอ็น.เค. ภควัต
ชาวพุทธที่อาศัยอยู่ในอินเดีย-เอ.ซี. เซ็น
ชาวพุทธที่อาศัยอยู่ในอันธรประเทศ- เค.อาร์.สุภัทรมาเนียน
ชาวพุทธที่อาศัยอยู่ในอินเดียใต้และประวัติอันธรในยุคแรก-เค.เอ็ส.สุภัทรมีเนียน
นักปราชญ์ชาวพุทธในแคชเมียร์-บทความที่นำเสนอต่อต่างประเทศ-เอ. คาอูล
นิกายพระพุทธศาสนาในอินเดีย-นาลินักสะ ทุตต์
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธศาสนา-ดี.ซี. ภัทรจรรยา
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธศาสนาในอินเดีย-ดี.ซี.เอหิระ
พุทธศาสตร์-บี.ซี. ลอว์
พุทธศาสตร์ในอินเดีย-อาร์.ซี. ปันเทยา
พุทธสถูปแห่งอมราวตีและจักกัยยาเปตา-ซี. สีวตมมูรติ
ซี.
เมืองหลวงของพระพุทธศาสนา: สารนาถ- อาจารย์ สีตรัม จตุรเวที
ศูนย์กลางพุทธปรัชญา-ที.อาร์.วี.มูรติ
จักรธวัช: ล้อแห่งธรรมของอินเดีย (ประวัติการเปิดเผยความหมายของธรรมจักรและเมืองสารนาถ-
วี.เอ็ส.อครวาลา
พระภิกษุจีนในอินเดีย-ลาติกะ ลาหิรี
การศึกษาเชิงเปรียบเทียบศาสนาไชนและพระพุทธศาสนา-สีตัล ประสาท
ความคิดของพระพุทธศาสนา-บี.ซี.ลอว์
ธรรมนูญของภิกษุสงฆ์-เค.แอล. หาซระ
การศึกษาเชิงวิเคราะห์มิลินทปัญหา-อาร์.บาสุ
กระแสตรงข้ามในพระพุทธศาสนายุคแรก-เอ็ส.เอ็น.ดูเบ
มรดกทางวัฒนธรรมแห่งอินเดีย-ลักษณะทางวัฒนธรรมพุทธศาสนา-วี.สุภัทรมาเนียน
ดี
ทะไล ลามะแห่งทิเบต: ทายาทแห่งการกำเนิด-อินเดอร์ แอล. มาลิค
วิภาษวิธีของนาครชุน,วิครหวยาวารตานี,ตำรา, แปลเป็นภาษาอังกฤษ- เค. ภัตตจรรยา
วิภาษวิธีของนาครชุน-ราเมนทร นาถ โกสห์
ความเสื่อมของพระพทุธศาสนาในอินเดีย-อาร์ ซี. มิตรา
ระบอบประชาธิปไตยในคณะสงฆ์ยุคแรก-โกคุลทัส เท
พัฒนาการของพระพุทธศาสนาในอุตตรประเทศ-นาลินักสะ ทุตต์ และ เค.ดี. บัชไภ
พัฒนาการของพุทธจริยศาสตร์-เกียชะ ประสาท มิสระ
พัฒนาการของภาพเขียนพุทธศาสนาในอินเดียตะวันออก-การศึกษานางตารา,ปรัชญาแห่งตถาคตทั้งห้าและภิรุกติ-มัลลาร์ โกสห์
ธรรมะที่แสดงโดย ดร. เอ็มเบ็ดการ์- ดี.ซี.เอหิระ บรรณาธิการ
ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า การศึกษาพระพุทธศาสนาท่าทีของพรามหณ์ฮินดูที่มีต่อพุทธศาสนา-ลาล มานี โชสี
การค้นพบเมืองกบิลวัสถุ์-เค.เอ็ม. ศรีวัสตวะ
อี
พระพุทธศาสนาและภควัตคีตายุคแรก-เค.เอ็น. อุปธยายะ
พระพุทธศาสนายุคแรกและต้นกำเนิด-วิสวนาถ วารมะ
ระบบวัดวาอารามในพระพุทธศาสนายุคแรก-สุกุมาร ทุตต์
เทพนิยายพระพุทธศาสนายุคแรก-เจ.พี.หาลเดอร์
ประวัติศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนายุคแรกและนิกายพระพุทธศาสนา- นาลินักสะ ทุตต์
วัดพระพุทธศาสนายุคแรก-นาลินักสะ ทุตต์
จารึกพระเจ้าอโศก- จี.ศรีนิวสมูรติและเอ.เอ็น.เค. ไอยันการ
สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาในพระพุทธศาสนายุคแรก-เอ็ส.เค. รามจันทรา ราโอ
สาระสำคัญของพระพุทธศาสนา-พี. ลักษมี นาราสุ
เอฟ
ตามรอยบาทพระศาสดา-ที.แอล.วัสวานี
ระบบวัดในทิเบตเบื้องต้น-อนาคาริก โควินทะ ลามะ
โครงร่างปรัชญาของนาครชุน-เอ.เอ็ม. ปัธยะ
อนาคตพุทธเจ้า(โพธิสัตว์)-ซามุ ที. เมรานี
จี
ประติมากรรมคันธาระ-เค.กฤษณะ มูรติ
โคตมพุทธะและพารภัทชาตก-บี.ซี. ลอว์
โคตมพุทธะ-เอ็ส. ราธกฤษณัน
โคตมพุทธะ: นายแพทย์ผู้หาใครเทียบไม่ได้(ยอดเยี่ยม)-เอ็ส.แอล. ภาเตีย
โคตมพุทธะ- อักสยะ กุมาร เดบี
โคตมะ: เรื่องราวของพระพุทธเจ้า-ศกุนตลา มสานี
คยาและโพะคยา-บี.เอ็ม บารัว
ภูมิศาสตร์ในพระพุทธศาสนายุคแรก-บี.ซี.ลอว์
ต้นฉบับตัวอักษรคิลกิต –นาลินักส ทุตต์
แสงสว่างแห่งพระพุทธศาสนา-อาร์.แอล. โซนี
แสงสว่างแห่งพระพุทธศาสนา-เอ็น ราเมสัน
แสงสว่างแห่งวัฒนธรรมพระพุทธศาสนาในอินเดียรวมถึงลีลาทั้งสี่-วี.สุภัทรมาเนียน
เส้นทางสู่โพธคยา-เทวปริยะ วาลิสินหะ
เส้นทางสู่ความพินาศของพระพุทธศาสนาที่สารนาถ-ทยา ราม สาหนี
เส้นทางสู่กสินาคาร์-ภิกษุ ธัมมรักษิต
เส้นทางสู่นาลันทา-เอ.โกสห์
เอช
สวรรค์และนรกในมุมมมองของพระพุทธศาสนา-บี.ซี.ลอว์
สาระสำคัญ(หัวใจ)ของพุทธปรัชญา: ทินนาคะและธรรมกีรติ-อมร ซิงห์
มรดกของพระพุทธศาสนา-ดี.ซี. เอหิระ
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา(ศาสนวงศ์) บี.ซี. ลอว์
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอัสสัม (พุทธศักราช 200-1700) เอ็ส. ศาสนนันทะ
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในแคชเมียร์-เอ็ส.โกศล
ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง-ราหุล สันกฤตยยัน
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย-เอ็ส.อาร์. โกยัล
ประวัติศาสตร์รัฐโอริสสา-หาเรกรุสนะ มหตาป
ประวัติวรรณคดีบาลี 2 เล่ม- บี.ซี. ลอว์
ประวัติศาสตร์การวิจัยพระพุทธศาสนาในอินเดีย-เอ็น.เอ็น. ภัตตจรรยา
วิวัฒนาการในประวัติศาสตร์แห่งพุทธตำนาน-สารลา โกศล
การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์คำศัพท์ในหินยานและมหายานและกำเนิดพุทธมหายาน-อาร์. กิมูระ
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเถรวาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้,พร้อมกับการศึกษาพิเศษในอินเดีย
และศรีลังกา-กาไน ลาล หาวระ
พระพุทธศาสนาเสื่อมจากอินเดียอย่างไรและทำไม-ดี.ซี.เอหิระ
สิทธิมนุษยชนในคำสอนของพระพุทธเจ้า-เอ็ม.เอ็น. ปะธัก
ไอ
หนี้ของอินเดียต่อพระพุทธศาสนา- ดี.ซี. เอหิระ
อินเดียและจีน- พี.ซี. บักชิ
ภาพเขียนพระพุทธศาสนาในอินเดีย- บี. ภัตตจรรยา
บัณฑิตอินเดียในแผ่นดินหิมะ-สรัต จันทรา ทัส
ญาณในพระพุทธศาสนา- เอ็ส.เค. คุปตะ บรรณาธิการ
ความปรีชาในการแนะนำมนุษย์ของพระพุทธศาสนา-ภทันต์ อนันท์ เกาสัลยยัน
ลัทธิลึกลับในพระพุทธศาสนาเบื้องต้น- บี. ภัตตจรรยา
พระพุทธศาสนาเบื้องต้น-ทะไล ลามะ
ลัทธิลามะเบื้องต้น- อาร์.อาร์.อนุรุธะ
ปรัชญามาธยมิกะเบื้องต้น-ไชเทวะ ซิงห์
วรรณคดีบาลีเบื้องต้น-เอ็ส.ซี. บาเนอร์จี
พุทธตันตระเบื้องต้น-สาสิ ภูสาน ทัสคุปตะ
วิสุทธิมัคค์เบื้องต้น-พระอู ธัมมรัตตนะ
จารึกพระเจ้าอโศก-ดี.ซี. สีรจาร
สถาบันพระเจ้าอโศก-เอ็ส.เค. เสน คุปตะ
เค
กุสินาคาร์-ดี.อาร์.ปาติล
แอล
ตำนานสถูปเจดีย์(ธูปวังสะ) แปลเป็นภาษาอังกฤษ –บี.ซี. ลอว์
พุทธประวัติในประติมากรรมของอินเดีย-รัตน ปาริโม
พรอันสูงสุดของชีวิต- ดร. อาร์.แอล. โซนี
วิถีชีวิตในประติมากรรมที่ศานจิ- เอ.แอล. ศรีวัสตวะ
ประวัติวรรณคดีพระพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต- ซี.เค. นาริมัน
ตำนานชีวิตของพระพุทธเจ้า-อาจารย์ พุทธรักขิต
เอ็ม
มหาราษฎร์แผ่นดินแห่งพระพุทธศาสนา-ดี.ซี. เอหิระ
พระพุทธศาสนามหายาน-นาลนักสะ ทุตต์
อุดมคติของพระพุทธศาสนามหายานแห่งกเสเมนทร-เอ็น.เอ็ส.สุกลา
มาธยันตระ วิภังค ศาสตรา-อาร์.ซี. ปันเทยะ
มาธยมิกะ ศาสตรัมของนาครชุน เล่ม 1- อาร์.ซี. ปันเทยะ
คู่มือประเพณีในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา-บี.ซี.ลอว์
คู่มือบาลี (หนังสือไวยากรณ์) –ซี.วี. โชสี
ข่าวสารของพระพุทธเจ้า- เอ.พี. วาเทีย
จิต: การเอาชนะความรำคาญใจ-อาจารย์พุทธรักขิต
มิลินทปัญหา-อาร์.บาสุ
พระพุทธศาสนายุคใหม่และเหล่าสาวกในโอริสสา- นาเคนทร นาถ วาสุ
เอ็น
ปรัชญาของนาครชุนที่ปรากฎในมหาปรัชญาปารมิตาศาสตร์-เค. เวนคาตะ รามนัน
นาครชุนคอนดา- ที.เอ็น. รามจันทรัน
ธรรมชาติของพันธนาการและความหลุดพ้นในระบบพุทธศาสนา-เค.สุกลา
นิพพานในพระพุทธศาสนายุคแรก(มีพื้นฐานอยู่ในแหล่งข้อมูลบาลี)-เอช.เอส.โสบติ
ความเข้าใจสัจจะและพระพุทธศาสนาและลัทธิปฏิบัตินิยม-กมลา กุมารี
โอ
กำเนิดพระพุทธรูป-อัดริส บันเนอร์จี
กำเนิดและพัฒนาการภาษาบาลี-อาร์.สิทธารถ
โครงร่างพระพุทธศาสนายุคแรก-อเจย์ มิตร ศาสตรี
พี
ไวยากรณ์บาลี-เอ็น. จักรวารตี วิทยาภูสานและ เอ็ม.เค. โกส
ภาษาและวรรณคดีบาลี-วิลเฮลม ไกเกอร์,,แปลโดยบัลกฤษณะโกส
ปาลี สังครห (เลือกจากตำราพุทธศาสนายุคแรก) พี.วี. บพัต บรรณาธิการ
การฟื้นฟูพระพุทธศาสนายุคแรกในอินเดีย- ดี.ซี.เอหิระ
ประมามนวารตติกัมของอาจารย์ธรรมเกียรติ-อาร์.ซี.ปันเดย์ บรรณาธิการ
อินเดียก่อนพระพุทธศาสนา-ราติลาล เมหตะ
การบรรยายตามประวัติศาสตร์พุทธปรัชญา-บี.เอ็ม บารัว
ทัศนคติทางจิตวิทยาของพุทธปรัชญายุคแรก-อนาคาริก โควินทะ ลามะ
อาร์
ราชคิร(ราชคฤห์)-เค.เอ็ม.เอช. กุไรศรี และ เอ. โกส
ราชคฤห์และนาลันทา-อมัลยา จันทรา เสน
การอุปถัมภ์ของกษัตริย์ต่อพระพุทธศาสนาในอินเดียโบราณ-เค.แอล.หาซรา
เอส
ศานจิ- นาง เดบาลา มิตรา
สันสกฤตพุทธศาสนา-นิหาร รันจัน เรย์
วรรณกรรมพระพุทธศาสนาสันสกฤตแห่งเนปาล-อาร์ แอล.มิตรา
สารีปุตตและโมคคัลลานะ-พระเอ็น.ชินรัตนะ
สารนาถ-วี.เอส. อการวาลา
สารนาถ-บัณฑิตเซโอ นารายณ์
วรรณกรรมสรวัสติวาท-เอ.ซี.บันเนอร์จี
สารวะ-ตถาคตะ-ตัตวะ-สังครหะ-โลเคส จันทรา บรรณาธิการ
ประติมากรรมของพระพุทธศาสนาวัชรญาณ-เค. กฤษณะ มูรติ
ความหมายและความสำคัญของชาดก – โกคุลทัส เดย์
มิติทางสังคมของพระพุทธศาสนายุคแรก-อุมา จักราวารตี
คุณค่าพื้นฐานบางส่วนของพระพุทธศาสนา-อาร์.แอล.โซนี
วิญญาณพระพุทธศาสนา-หาริ ซิงห์ กาอุระ
ซี่แห่งล้อ(การศึกษาธรรมของพระพุทธเจ้า)-อารวินท ซาร์มา
สรวัสตี-เอ็ม.เวนกาตารามัยยะ
เรื่องราวของพระพุทธศาสนาพร้อมกับการอ้างอิงพิเศษในอินเดียใต้-เอ.เอ.
ไอยปานและ พี.พี. ศรีนิวสาน
การศึกษามหาวัสถุ-บี.ซี. ลอว์
การศึกษาปฏิสัมภิทามัคค์-พระอู ธัมมรัตนะ
การศึกษาพระพุทธศาสนาและศาสนาซิกซ์-เอช.เอส.โสบตี
การศึกษาศิลปะทางพระพุทธศาสนาในเอเชียใต้- เอ.เค. นารายณ์
การศึกษาวัฒนธรรมพุทธศาสนาในอินเดีย-แอล.เอ็ม.โชศรี
การศึกษารูปบูชาของพระพุทธศาสนา-ดี.ซี. ภัตตจรรยา
การศึกษาพุทธชาตก-อาร์.ซี. เสน
การศึกษาพระพุทธศาสนาในจีน-เอ.ซี. บันเนอร์จี
การศึกษาสถาปัตยกรรมอินเดียในพุทธศาสนายุคแรก-เอช.สารการ์
การศึกษาอนุสาวรีย์พระพุทธศาสนายุคแรกและคำจารึกอักษรพราหมีแห่งอันธรเทสา-ไอ.เค. สาร์มา
การศึกษากำเนิดพระพุทธศาสนา-จี.ซี.ปันเท
การศึกษาบาลีและพระพุทธศาสนา: ที่ระลึกเพื่อเป็นเกียรติของภิกขุ จักดิสห์ กัสหยัป-เอ.เค. นารายณ์
การสำรวจพระพุทธศาสนา-ภิกขุ สังฆรักษิต
ที
ตารกภาษา: คู่มือพุทธตรรกวิทยา-บี.เอ็น.ซิงห์
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดียของตารนาถ แปลจากภาษาทิเบตโดยลามะ ฉิมปาและอัลกา จัตโตปะทัย-เดบีประสาท จัตโตปทัย บรรณาธิการ
ตถาคตพุทธะ: เรื่องที่ไม่ได้เปิดเผยของพระพุทธเจ้า-พี.วาย.เทสปันเท
โรงละครของชาวพุทธ-เอช.วี.ซาร์มา
พระพุทธศาสนาเถรวาท-นิหาร์ รันจัน เรย์
ทฤษฎีสัมพันธภาพของพระพุทธศาสนาในพุทธปรัชญา-พิมเคนทรา กุมาร
ทิเบตศึกษา-เอส.ซี. ทัส
ยู
มรดกที่ยากจะลืมเลือน(เรื่องของธัมมปท) เล่มที่ 1,2,3,4-อาจารย์พุทธรักขิต
วี
งานของวัชรญาณ-บี.ภัตตจรรยา
วิหารในอินเดียโบราณ-ทีปัก กุมาร บารัว
วิมุตติมัคค์และวิสุทธิมัคค์-การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ - พี.วี บะพัต
เสียงแห่งพุทธะ: สัจจะชั่วนิรันดร์-ประนัป บันโธโพทัย
ดับเบิลยู
ทางแห่งพุทธะ-แผนกพิมพ์,กระทรวงข่าวสารและวิทยุกระจายเสียงจัดพิมพ์
พระพุทธศาสนาคืออะไร-พี. ลักษมี นาราสุ
สตรีในวรรณกรรมพระพุทธศาสนา-บี.ซี.ลอว์
วายส์
จิตนิยมโยคาจาร-เอ.เค. จัตเตอร์จี
แชด
พระพุทธศาสนานิกายเซน: การวิเคราะห์เรื่องที่สำคัญ-แอล.พี. ซิงห์และบี.เอ็ม. สิริเสนา
4. วารสารทางพระพุทธศาสนา
วารสารพระพุทธศาสนาฉบับแรกที่สุดคือ มหาโพธิ วารสารรายเดือนภาษาอังกฤษโดยมหาโพธิสมาคมแห่งอินเดีย 4 –เอ, ถนนบันคิม จัตเตอร์จี กัลกัตตา ก่อตั้งโดยอนาคาริกธรรมปาละในเดือนพฤษภาคม 2435 เป็นวารสารพุทธศาสนาฉบับเดียวที่ออกติดต่อกันนานกว่าหนึ่งศตวรรษ มีวารสารฉบับอื่นๆ อีกจำนวนมากที่ต้องหยุดพิมพ์
วารสารพุทธศาสนาที่มีอายุนานเป็นอันดับสองคือ ชกัชชโยติ ซึ่งก่อตั้งในปีพุทธศักราช 2451 โดยพระกริปาสรันมหาเถระ ผู้ก่อตั้งพุทธสมาคมเบงกอล เมื่อเริ่มก่อตั้งชกัชชโยติออกเป็รายเดือนภาษาเบงกาลี แต่ปัจจุบันพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษและเบงกาลีอย่างละครึ่ง ภายใต้การเป็นบรรณาธิการของเฮเมนทู บี. เชาธุรี โดยพุทธสมาคมเบงกอล ถนนพุทธวิหาร กัลกัตตา
วารสารพุทธศาสนาที่มีความสำคัญอันดับสามเป็นวารสารรายเดือนชื่อ ธรรมะ พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ โดยมหาโพธิสมาคม 14 ถนนกาลิทาส,คันธินาคาร์ บังกาลอร์ การนาตกะ ก่อตั้งโดยพระอาจารย์พุทธรักขิตในปีพุทธศักราช 2519 และเป็นบรรณาธิการเองด้วย
วารสารพุทธศาสนาบางเล่มยังที่ยังพิมพ์เผแพร่ในอินเดียคือ (1) สัมยัค ทริสติ (สัมมาทิฏฐิ) วารสารรายเดือนภาษาอังกฤษ-ฮินดี โดยมหาโพธิ อโศก มิชชั่น,อัชเมอร์,ราชสถาน (2) โพธิปาท,รายปี ฮินดี-อังกฤษ พุทธสมาคมนานาชาติไวศาลี,มูซาฟฟารปุระ,พิหาร (3) นาลันทา รายสามเดือน,ภาษาเบงกาลี, นาลันทาวิทยาภวัน,กัลกัตตา,เวสท์เบงกอล (4) วิปัสสนา รายเดือนภาษาฮินดี สถาบันวิปัสสนานานาชาติ ธัมมคีรี อิกัตปุรี มหาราษฎร์ (5) ประกายะ วิจัย รายเดือน ฮินดี ภูร พูลันทสาหาหระ อุตตรประเทศ (6) ธัมมเกียรติ รายสามเดือน ฮินดี ชลันธร ปัญจาบ (7) พุทธ ธูรัม ประจักร รายเดือน ฮินดี เมืองอนันทครห์ โหสิอารปุระ ปัญจาบ (8) ธัมมาลีปิ รายเดือน มารธี บอมเบย์ มหาราษฎร์
พระมหาบุญไทย ปุญญมโน
แปลจาก D.C. Ahir, Buddhism in Modern India, Sri Satguru Publications,Delhi,1991. (บทที่ 6)
04/06/55