มีนักศึกษาถามว่า "การเรียนภาษาบาลีในระดับปริญญาตรีกับการเรียนภาษาบาลีของคณะสงฆ์ต่างกันอย่างไร ทำไมภาษาบาลีเพื่อการศึกษาค้นคว้าพระพุทธศาสนา ถึงเข้าใจยาก" ได้ตอบบนักศึกษาท่านนั้นไปว่า "ในส่วนของพระภิกษุสามเณรต้องใช้เวลาในการศึกษาชั้นละหนึ่งปีเต็มๆจึงจะสอบครั้งหนึ่ง ปีหนึ่งมีสอบครั้งเดียว อาจจะมีบางชั้นที่ต้องสอบซ่อมบางรายวิชา ส่วนนักศึกษาเรียนเทอมเดียวไม่เกินสิบหกสัปดาห์ จะให้เข้าใจภาษาบาลีเหมือนพระภิกษุสามเณรจึงเป็นเรื่องยาก แต่หากใครอยากศึกษาเรียนรู้ภาษาบาลีก็สามารถเข้าศึกษาในแผนกบาลีศึกษาที่เปิดสอนสำหรับแม่ชีและประชาชนทั่วไป สำนักงานใหญ่อยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร หรือจะติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศาลายา นครปฐมก็ได้ ใครที่สอบได้เป็นเปรียญเหมือนพระภิกษุสามเณร หลักสูตรใช้หนังสือและตำราอย่างเดียวกัน หนังสือเรียนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
หลักสูตร เปรียญธรรม ประโยค ๑-๒ ถึง ประโยค ๙
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๑
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑ บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
ประโยค ๑ เล่มที่ ๒ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์
ประโยค ๑ เล่มที่ ๓ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต
ประโยค ๑ เล่มที่ ๔ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์
ประโยค ๑ เล่มที่ ๕ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
ประโยค ๑ เล่มที่ ๖ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑-๒
ประโยค ๑ เล่มที่ ๗ อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
ประโยค ๑ เล่มที่ ๘ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์
ประโยค ๑ เล่มที่ ๙ อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมาสและตัทธิต
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๐ อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๑ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๒ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๑
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๓ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๔ ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์
(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๒
ประโยค ๒ เล่มที่ ๑ ธมฺมปทฏฐกถา (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๒ เล่มที่ ๒ ธมฺมปทฏฐกถา (ทุติโย ภาโค)
ประโยค ๒ เล่มที่ ๓ ธมฺมปทฏฐกถา (ตติโย ภาโค)
ประโยค ๒ เล่มที่ ๔ ธมฺมปทฏฐกถา (จตุตฺโถ ภาโค)
ประโยค ๒ เล่มที่ ๕ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๑
ประโยค ๒ เล่มที่ ๖ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๒
ประโยค ๒ เล่มที่ ๗ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๓
ประโยค ๒ เล่มที่ ๘ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔
ประโยค ๒ เล่มที่ ๙ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๑
ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๐ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๒
ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๑ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๓
ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๒ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๔
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๓
ประโยค ๓ เล่มที่ ๑ ธมฺมปทฏฐกถา (ปญจโม ภาโค)
ประโยค ๓ เล่มที่ ๒ ธมฺมปทฏฐกถา (ฉฏโฐ ภาโค)
ประโยค ๓ เล่มที่ ๓ ธมฺมปทฏฐกถา (สตฺตโม ภาโค)
ประโยค ๓ เล่มที่ ๔ ธมฺมปทฏฐกถา (อฏฐโม ภาโค)
ประโยค ๓ เล่มที่ ๕ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕
ประโยค ๓ เล่มที่ ๖ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๖
ประโยค ๓ เล่มที่ ๗ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๗
ประโยค ๓ เล่มที่ ๘ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๘
ประโยค ๓ เล่มที่ ๙ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๕
ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๐ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๖
ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๑ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๗
ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๒ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๘
ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๓ อันตรคาถาธรรมบทแปล
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๔
ประโยค ๔ เล่มที่ ๑ มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๔ เล่มที่ ๒ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑
ประโยค ๔ เล่มที่ ๓ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๒
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๕
ประโยค ๕ เล่มที่ ๑ มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๕ เล่มที่ ๒ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๓
ประโยค ๕ เล่มที่ ๓ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๔
ประโยค ๕ เล่มที่ ๔ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๕
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๖
เล่มที่ ๑ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ตติโย ภาโค)
เล่มที่ ๒ สมฺนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถาย อตฺถโยชนา
(ทุติโย ภาโค)
เล่มที่ ๓ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา
(ตติโย ภาโค)
เล่มที่ ๔ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา
(จตุตฺโถ ภาโค)
เล่มที่ ๕ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑
เล่มที่ ๖ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒
เล่มที่ ๗ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา
เล่มที่ ๘ ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๗
ประโยค ๗ เล่มที่ ๑ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๗ เล่มที่ ๒ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ทุติโย ภาโค)
ประโยค ๗ เล่มที่ ๓ สมนฺตปาสาทิกาย นาม วินยฏฐกถา อตฺถโยชนา
(ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๗ เล่มที่ ๔ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา
(ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๗ เล่มที่ ๕ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑
ประโยค ๗ เล่มที่ ๖ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒
ประโยค ๗ เล่มที่ ๗ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๓
ประโยค ๗ เล่มที่ ๘ ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑
ประโยค ๗ เล่มที่ ๙ ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๘
ประโยค ๘ เล่มที่ ๑ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๒ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ทุติโย ภาโค)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๓ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ตติโย ภาโค)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๔ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑
ประโยค ๘ เล่มที่ ๕ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒
ประโยค ๘ เล่มที่ ๖ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๑
ประโยค ๘ เล่มที่ ๗ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒
ประโยค ๘ เล่มที่ ๘ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๑
ประโยค ๘ เล่มที่ ๙ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๐ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย
มหาฎีกาสมฺมตาย (ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๑ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย
มหาฎีกาสมฺมตาย (ทุติโย ภาโค)
ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๒ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย
มหาฎีกาสมฺมตาย (ตติโย ภาโค)
หลักสูตร : เปรียญธรรม ประโยค ๙
ประโยค ๙ เล่มที่ ๑ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา
(ปฐโม ภาโค)
ประโยค ๙ เล่มที่ ๒ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา
(ทุติโย ภาโค)
ประโยค ๙ เล่มที่ ๓ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา
(ตติโย ภาโค)
ประโยค ๙ เล่มที่ ๔ อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินี
นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
ประโยค ๙ เล่มที่ ๕ อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
http://www.watphailom.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=539002457